วันพุธที่ 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557
วันอังคารที่ 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557
วันพฤหัสบดีที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557
วันพุธที่ 19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557
งานคอมใบงานที่1
https://docs.google.com/presentation/d/1xD6XkKpHH40QfnEnZQ5s-rRHmmk942vc_DlqGtxJiz4/edit?usp=sharing
วันพฤหัสบดีที่ 30 ตุลาคม พ.ศ. 2557
Microsoft Word คืออะไร
ไมโครซอฟท์ เวิร์ด เป็นโปรแกรมประมวลคำเพื่อการค้า ออกแบบโดยไมโครซอฟท์ เปิดตัวเป็นครั้งแรกในปี ค.ศ. 1983 ภายใต้ชื่อ มัลติ-ทูล เวิร์ด สำหรับระบบปฏิบัติการ Xenix[1][2][3] โดยมีเวอร์ชันอื่นๆ ออกมาอีกภายหลังเพื่อทำงานเขียนสำหรับแพลตฟอร์มอื่นๆ อาทิเช่น ไอบีเอ็มพีซีรันบนดอส (1983), แอปเปิล แมคอินทอช (1984), เอที&ที Unix PC (1985), Atari ST (1986), SCO UNIX, โอเอส/2, และไมโครซอฟท์ วินโดวส์ (1989) โดยเป็นองค์กอบหนึ่งของซอฟต์แวร์ระบบไมโครซอฟท์ ออฟฟิศ ซึ่งเป็นผลิตภัณฑ์ที่ขายแยกต่างหาก และรวมอยู่ในไมโครซอฟท์ เวิร์ก สูท เวอร์ชันปัจจุบัน คือ ไมโครซอฟท์ เวิร์ด 2010 สำหรับวินโดว์ และ 2011 สำหรับแมค
ประวัติ
จุดกำเนิด และ การเติบโต: 1981 ถึง 1995
ในปี 1981 ไมโครซอฟท์ได้จ้าง Charles Simonyi นักพัฒนาหลักของBravo โปรแกรมประมวลคำGUI ตัวแรก ซึ่งพัฒนาบน Xerox PARC[4] Simonyi เริ่มสร้างโปรแกรมประมวลคำที่ชื่อว่ามัลติ-ทูล เวิร์ด และต่อมาได้จ้างRichard Brodie อดีตพนักงานฝึกหัดบริษัทXerox เพื่อมาเป็นsoftware engineerหลัก[4][5][6]ghdhdhd
โปรแกรม Microsoft Word เป็นโปรแกรมหนึ่ง ที่จัดอยู่ในชุด Microsoft Office โปรแกรม Ms Word เป็นโปรแกรมสำเร็จรูปที่เหมาะสำหรับการจัดการงานด้านเอกสารสำนักงาน เอกสารธุรการทั่วไป มีเครื่องมือในการจัดรูปแบบการพิมพ์เอกสารให้เหมาะสมกับการนำเสนอในแต่ละงาน
Ms Word ไม่ได้เป็นเพียงใช้งานในด้านการจัดการเอกสาร สิ่งพิมพ์เท่านั้น ยังสามารถจัดทำ ซองจดหมาย หนังสือเวียน หรือ การนำไปประยุกต์สิ่งพิมพ์ต่าง ๆ เช่น ทำปกรายงาน ทำนามบัตร ทำแบบตัวอักษรโฆษณา ได้ด้วย เพื่อน ๆ ที่ต้องการเรียนรู้ โปรแกรม Microsoft Word ให้ได้ผล ควรเปิดโปรแกรม MS Word และปฏิบัติตามขั้นตอนไปด้วย จะทำให้มีความเข้าใจดีขึ้น และเป็นการสร้างทักษะการใช้โปรแกรมไปในตัว
Ms Word ไม่ได้เป็นเพียงใช้งานในด้านการจัดการเอกสาร สิ่งพิมพ์เท่านั้น ยังสามารถจัดทำ ซองจดหมาย หนังสือเวียน หรือ การนำไปประยุกต์สิ่งพิมพ์ต่าง ๆ เช่น ทำปกรายงาน ทำนามบัตร ทำแบบตัวอักษรโฆษณา ได้ด้วย เพื่อน ๆ ที่ต้องการเรียนรู้ โปรแกรม Microsoft Word ให้ได้ผล ควรเปิดโปรแกรม MS Word และปฏิบัติตามขั้นตอนไปด้วย จะทำให้มีความเข้าใจดีขึ้น และเป็นการสร้างทักษะการใช้โปรแกรมไปในตัว
ความหมายและประโยชน์ของโปรแกรม
โปรแกรมไมโครซอฟต์เวิร์ด ซึ่งเป็นโปรแกรมประมวลผลคำแบบพิเศษ ช่วยให้สร้างเอกสารแบบมืออาชีพอย่างมีประสิทธิภาพและประหยัด เช่น เหมาะกับงานด้านการพิมพ์เอกสารทุกชนิด สามารถพิมพ์เอกสารออกมาเป็นชุด ๆ ซึ่งเอกสารอาจเป็นจดหมาย บันทึกข้อความ รายงาน บทความ ประวัติย่อ และยังสามารถตรวจสอบ ทบทวน แก้ไข ปรับปรุงความถูกต้องในการพิมพ์เอกสารได้อย่างง่ายดาย สามารถตรวจสอบ สะกดคำ และหลักไวยากรณ์ เพิ่มตาราง เพิ่มกราฟิก ในเอกสารได้อย่างง่ายดาย หรือเพิ่มเติมข้อมูลได้ตลอดเวลา สามารถใช้ลักษณะของการจัดพิมพ์ด้วยคอมพิวเตอร์แบบตั้งโต๊ะ (Desktop Publishing) เพื่อสร้างโบชัวร์ (Brochures) ด้านสื่อโฆษณา (Advertisements) และจดหมายข่าว (Newsletters) ได้ด้วยโปรแกรมประมวลผลคำ (word Processor)
ประโยชน์ของโปรแกรม Microsoft Word
· มีระบบอัตโนมัติต่างๆ ที่ช่วยในการทำงานสะดวกขึ้น เช่น การตรวจคำสะกด การตรวจสอบไวยากรณ์ การใส่ข้อความอัตโนมัติ เป็นต้น
· สามารถใช้ Word สร้างตารางที่สลับซับซ้อนย่างไรก็ได้
· สามารถใช้สร้างจดหมายได้อย่างรวดเร็ว โดยสามารถกำหนดให้ผู้วิเศษ (Wizard) ใน Word สร้างแบบฟอร์มของจดหมายได้หลายรูปแบบตามต้องการ
· ตกแต่งเอกสารได้ง่ายและรวดเร็ว สามารถตกแต่งเอกสารหรือเพื่อความสะดวกจะให้ Word ตกแต่งให้ก็ได้ โดยที่สามารถเป็นผู้กำหนดรูปแบบของเอกสารเอง
· สามารถแทรกรูปภาพ กราฟ หรือผังองค์กรลงในเอกสารได้
· เป็นโปรแกรมที่ทำงานบนวินโดว์ ดังคุณสมบัติต่างๆของวินโดว์จะมีอยู่ใน Word ด้วย เช่น สามารถย่อขยายขนาดหน้าต่างได้ สามารถเรียกใช้รุปแบบอักษรที่มีอยู่มากมายในวินโดว์ได้
· ความสามารถในการเชื่อมต่อกับโปรแกรมอื่นๆในชุดโปรแกรม Microsoft Office สามารถโอนย้ายข้อมูลต่างๆระหว่างโปรแกรมได้ เช่น สามารถดึงข้อมูลใน Excel มาใส่ใน Word ได้
· อยากทราบอะไรเกี่ยวกับ Word ถามผู้ช่วยเหลือที่มีชื่อว่า " Office Assistance" ตลอดเวลาขณะที่ใช้งาน Word
· สร้างเอกสารให้ใช้งานในอินเตอร์เนตได้อย่างง่ายๆ
· จากที่กล่าวมานี้เป็นเพียงความสามารถบางส่วนของ Microsoft Word เท่านั้น รายละเอียดอื่นๆ จะขอกล่าวถึงในภายหลัง
โปรแกรมไมโครซอฟต์เวิร์ด ( Microsoft Word ) สามารถทำงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานประมวลคำได้ดังนี้
|
วันพฤหัสบดีที่ 2 ตุลาคม พ.ศ. 2557
สรุปแบบทดสอบทางออนไลน์
แก้ไขฟอร์มนี้
10 คำตอบ
ข้อมูลสรุป
ชื่อ
วรกิจ
นางสาว อนงค์นาฏ
สหรัฐ
นางสาวอมรรัตน์
นาย จักรพันธ์
นางสาวกาญจนา
นางสาวพรนภา
เพชรรัตน์
วาสนา
ณัฐกุล
สกุล
คูกิมิยะ
เพ็งที
สุพะลัม
วสุวัชร์
พนาวันต์
วงค์ชมพู
อุ้มดีไวย์
คิดดีจริง
ลักขษร
แสวงงาม
รหัสนักศึกษา
572321011027-8
572321011003-9
5646545456
572321011016-1
5723210110120
572321011002-1
572321011004-7
555
5723210110146
572321011019-5
คณะ
การจัดการ
ตลก
เทคโนโลยีการจัดการ
สาขา
การจัดการ
กจ.
การจัดการทั่วไป
การจัดการ
1.ภาษายุคที่5มีลักษณะใด
เป็นภาษามนุษย์ | 4 | 40% |
เป็นภาษาเครื่อง | 6 | 60% |
เป็นภาษาอังกฤษ | 0 | 0% |
เป็นภาษาเสียง | 0 | 0% |
2.ขอ้ใดไม่จัดอยู่ใน Microsoft Office
Microsoft PowerPoint | 2 | 20% |
Microsoft Visual Foxpro | 6 | 60% |
Microsoft Excel | 1 | 10% |
Microsoft Access | 1 | 10% |
3.ข้อใดเป็น Volatile Memory
Ram | 6 | 60% |
Rom | 2 | 20% |
Cache | 0 | 0% |
Register | 2 | 20% |
4.ต่อไปนี้ข้อใดไม่ใช่ตัวอย่างของการคอมพิวเตอร์ในงานอุตสาหกรรม
การควบคุมคุณภาพ | 0 | 0% |
ค่าใช้จ่ายในการก่อสร้าง | 7 | 70% |
การตรวจรักษาความปลอดภัย | 2 | 20% |
การควบคุมเครื่องจักร | 1 | 10% |
5.ข้อใดไม่ใช่งานหลักของการประมวลผลข้อมูล
การรับข้อมูลเข้า | 2 | 20% |
การส่งข้อมูลออก | 1 | 10% |
การตรวจความถูกต้อง | 3 | 30% |
การควบคุมการบัญชีของธนาคาร | 4 | 40% |
6.คำตอบในข้อใดไม่ใช่ตัวอย่างของเทคโนโลยีสารสนเทศ
เครื่องฝากถอนเงินอัตโนมัติ | 3 | 30% |
เครื่องซักผ้าอัตโนมัติ | 1 | 10% |
ระบบดาวเทียม | 2 | 20% |
เตาอบไมโครเวฟ | 4 | 40% |
7.ข้อใดไม่ใช่ข้อดีของคอมพิวเตอร์คืออะไร
ความเร็วสูง | 3 | 30% |
มีความน่าเชื่อถือ | 4 | 40% |
รับคำสั่งจากมนุษย์ | 1 | 10% |
สามารถจดจำได้แม่น | 2 | 20% |
8.ภาษาธรรมชาติหมายถึง
ภาษาคอมพิวเตอร์ | 1 | 10% |
ภาษาพูด | 4 | 40% |
ภาษาเขียน | 0 | 0% |
ถูถทุกข้อ | 5 | 50% |
9.เครื่องมือคำนวณชนิดแรกที่สร้างโดยชาวจีนโบราณคืออะไร
เครื่องคิดเลข | 1 | 10% |
คอมพิวเตอร์ | 0 | 0% |
ลูกคิด | 9 | 90% |
Palm | 0 | 0% |
10.ข้อจำกัดของคอมพิวเตอร์คือข้อใด
เครื่องมีราคาแพง | 0 | 0% |
ขาดแคลนบุคลากรทางคอมพิวเตอร์ | 2 | 20% |
การทำงานขึ้นอยู่กับมนุษย์ | 1 | 10% |
ถูถทุกข้อ | 7 | 70% |
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)